วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559

สมาชิกในกลุ่ม

ชื่อ นาย จีระศักดิ์ ภูสีแก้ว ห้อง ม.5/3 เลขที่ 3
อีเมล jeerasak285nuy@gmail.com
เว็บไซต์ http://jeerasak285nuy.blogspot.com/2016/11/18-165.html


ชื่อ จารุณี ทองฤธิ์ เลขที่17 ม.5/3 
อีเมล์ jarunee200tuk@gmail.com
http://jarunee1120.blogspot.com/2016/11/blog-post.html

ชื่อ นางสาว ศิริวรรณ์ ขุลีทัรพย์ ม.5/3 เลขที่ 20
อีเมล check12call@gmail.com
เว็บบล็อก http://siriwanmin.blogspot.com/2016/11/blog-post_16.htm
ชื่อ น.ส.นลิตา ดำดูลย์ ชั้น ม.5/3 เลขที่27
อีเมล nalita.mauy1234@gmail.com
เว็บบล็อก http://1234mauy.blogspot.com/2016/11/blog-post.html



ชื่อ นายศตวรรษ กุุลวรรณ์ 
ชั้น ม.5/3 เลขที่12 
gmail mauy2213@gmail.com
http://top1243.blogspot.com/2016/12/blog-post.html






ลงข้อมลูโดย จีระศักดิ์  ภูสีแก้ว ชั้น ม.5/3  เลขที่ 3












VDO



  
ภาคผนวก





1.นำก้านมะพร้าวเหลาเอาใบออกผึ่งแดดให้แห้ง


2. นำมาถักเรียงกันเป็นรูปเฝือกมัดด้วยเชือกถักมาประกอบกับด้ามไม้ที่เตรียมไว้มัดด้วยลวดตอกตะปูให้แน่นกันเลื่อนขึ้น ลงของไม้กวาด



3.แซมด้วยก้านมะพร้าวอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้แน่นหนามากขึ้น



เสร็ํจเรียบร้อยนำไปใช้หรือ จำหน่ายได้แล้วค่ะ




ลงข้อมลูโดย นางสาว จารณี ทองฤทธิ์ เลขที่ 17 ม.5/3
บรรณานุกรม

ศิริพงษ์  จันทน์หอม.(2539).บ้านทางมะพร้าว.กรุงเทพฯ:chulabook.
ระวี  จุลนัทท์.(2553).การประดิษฐ์ไม้กวาดทางมะพร้าว.มหาสารคาม
ไม้กวาดทางมะพร้าว.(2554)สืบค้นจากhttp://sandsstonenpw.wordpress.com
 เมื่อวันที่  14  พฤศจิกายน  2554.
เทคนิคการสร้างและออกแบบ Website ด้วย  Adobe Dreamweaver CS3.สืบค้นเมื่อ วันที่  17   มิถุนายน 2555   จากเว็บไซต์: http://aster.spu.ac.th/file/user/66/66/upload/doc_train/dreamweverCS3.pdf   
โปรแกรม Dreamweaver.สืบค้นเมื่อ วันที่  20 มิถุนายน 2555  จากเว็บไซต์:             
            http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/47/page/1_introduce.htmlบรรณานุกรม













สืบค้นข้อมลูจากhttp://sandsstonenpw.wordpress.com
ลงข้อมลูโดย นางสาว จารุณี ทองฤทธิ์  ม.5/3 เลขที่ 17

       

บทที่ 5
สรุปผลการดำเนินงาน

สรุปผลการศึกษา

                สมาชิกภายในกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จากการทำไม้กวาดทางมะพร้าว มาอภิปรายผลและสรุปผลการปฏิบัติงานตามโครงงานทำให้พบว่าการทำไม้กวาดทางมะพร้าว ถ้าจะให้สวยงาม มีความประณีต ต้องอาศัยทักษะในการทำ เราจะต้องหมั่นฝึกปฏิบัติอยู่เป็นประจำใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีความคิดสร้างสรรค์ นำไปสู่การสร้างงานที่ก่อให้เกิดรายได้เสริมระหว่างเรียนเป็นอย่างดีและนำไปใช้ในการประกอบอาชีพต่อไป

ข้อเสนอแนะ

1.             ทางมะพร้าวที่นำมาทำ เพื่อความสะดวกและง่ายใช้งานได้เลย แนะนำให้เอาที่แห้งแล้วมาทำ
2.             ถ้าอยากให้ไม้กวาดแข็งแรง หนาแน่นกว่าเดิม เราต้องเอายางมะตอย มาทาก่อนกระป๋องคอบ

       



ลงข้อมลูโดย นาย ศตวรรษ กลุสุวรรณ์ เลขที่  12  ม.5/2












บทที่ 4
ผลการศึกษา
ผลการศึกษาค้นคว้า
                จากการศึกษาการทำไม้กวาดทางมะพร้าว คณะผู้จัดทำสามารถศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต ค้นจากหนังสือในห้องสมุด ค้นจากผู้ชำนาญการในชุมชน ศึกษาดูรูปแบบต่างๆ ทีหลากหลาย และสวยงาม

ตารางที่ 2 ผลการดำเนินงาน
สัปดาห์/วันที่
รายการที่ดำเนินการ
4 มิ.2559
ซื้ออุปกรณ์ ตะปู สายรัดพลาสติก
6 มิ.2559
เตรียมอุปกรณ์ ทางมะพร้าว ตะปู สายรัดพลาสติก
13 มิ.2559
มอบหมายงาน ของแต่ละคนในกลุ่ม
20 มิ.2559
ลงมือทำงาน
27 มิ.2559
ส่งผลงาน






ลงข้อมลูโดย นางสาว จารุณี ทองฤทธิ์  ม.5/3 เลขที่ 17

       








                                                                        บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
การศึกษาค้นคว้า เรื่องการทำไม้กวาดทางมะพร้าว คณะผู้จัดทำได้กำหนดวิธีการดำเนินงานดังต่อไปนี้

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน

1.             แบ่งกิจกรรมตามหน้าที่ 
2.             สืบค้นหาข้อมูล
3.             รวบรวมข้อมูล
4.             จัดทำเป็นรูปเล่มที่สวยงามนำเสนอ

 อุปกรณ์
               1ทางมะพร้าว     
              2.ไม้ไผ่              
           3.สายรัดพลาสติก

ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.             หาทางมะพร้าว หรือ ทางตาล ที่แห้งแล้ว มาให้พอประมาณ
2.             เหลาทางมะพร้าวให้เป็นเส้นเล็กๆ
3.             นำไม้ไผ่มาทำเป็นตาม
4.             ทางมะพร้าวมาประกอบกันโดยใช้ไม้ชิ้นเล็กเพื่อเป็นตัวยึด
5.             ใช้สายรัดพลาสติกเป็นตัวถัก
6.             เจาะก้นกระป๋องให้พอดีกับด้าม
7.             แล้วนำกระป๋องมาคอบ เรียบร้อย



        ลงข้อมลูโดย นางสาว ศิริวรรณ์ ขุลีทรัพย์ เลขที่ 19 ม.5/3